ข่าวทั่วไปข่าวพาดหัว

โครงการศึกษาความเหมาะสมและประเมินผลกระทุบสิ่งแวดล้อมอ่างเก็บน้ำห้วยจันทร์จังหวัดศรีสะเกษ

โครงการศึกษาความเหมาะสมและประเมินผลกระทุบสิ่งแวดล้อมอ่างเก็บน้ำห้วยจันทร์จังหวัดศรีสะเกษ
กรมชลประทาน โดยสำนักบริหารโครงการได้ ศึกษาความเหมาะสมและกุมภาพันธ์ 2568ประเมินผลกระทนสิ่งแวดล้อม อ่างเก็บน้ำห้วยจันทร์ จังหวัดศรีสะเกษ
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนเกษตรกรรมในฤดูฝน-ฤดูแล้ง สนับสนุนน้ำเพื่อการอุปโกค-บริโภคเป็นแหล่งพาะ
และขยายพันธุ์สัตว์น้ำ และสร้างความชุ่มชื้มชื้นในพื้นที่ป้าไม้รอบอ่างเก็บน้ำ บรรเทาปัญหาอุหาอุทกภัยและลดความ
เสียหายจากน้ำท่วมด้านท้ายน้ำ รักษาสมดุลนิเวศท้ายน้ำ เป็นแหล่งก่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจของราษฎรใน
บริเวณใกล้เคียง ตลอดจนเป็นแหล่งน้ำสนับสบสนุนแหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติน้ำตกห้วยจันทร์
กรมชลประทานให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนการเตรียมการก่อนการรับฟังความคิดเห็นฯ
(Preparation Process) การเข้าพบหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเข้าพบผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ
การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
ครั้งที่ 1การประชุมปฐมนิเทศโครงการ เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2566 ณ หอประชุมที่ว่าการอำเภอขุนหาญ ผู้เข้าร่วมประชุม 236 คนผลวิเคราะห์แบบประเมินผลของการประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
ครั้งที่ 2(การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 2)97.3%77.3%การประชุมกลุ่มย่อย
ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 15 กุบทาพันธ์ พ.ศ. 2567ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยจันทร์ ผู้เข้าร่วมประชุม 141 คมการรับทราบข้อมูลโครงการความคิดเห็นต่อผลกระทบสิ่งแวดล้อม
75.0%100%การประชุมกลุ่มย่อย
ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พศ. 2567ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยจันทร์ ผู้เข้าร่วมประชม 260 คนความคิดเห็นต่อมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมความคิดเห็นต่อสาระสำคัญที่ได้จากการประชุม
กรมชลประทาน

จดหมายข่าว ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์ 2568 2 โครงการ ศึกษาความเหมาะสมและประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมอ่างเก็บน้ำห้วยจันทร์ จังหวัดศรีสะเกษ
ที่ตั้งโครงการบ้านห้วยจันทร์ หมู่ที่ 4 ตำบลห้วยจันทร์อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ลักษณะตัวเขื่อน
ชนิดทำนบดินแบบแบ่งโชน (Zoned-Earth Dam)ระดับสันทำนบดิน+267.50 เมตร (รทก.)ความกว้างสันนบดิน 8.00 เมตรความยาวสันทำนบดิน 620.00 เมตรความสูงสันทำนบดิน 20.50 เมตรลักษณะอุทกวิทยาพื้นที่รับน้ำฝน39.22ตารางกิโลเมตรปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายปี 1,404.9 มิลลิเมตรปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯ 12.78 ล้าน ลบ.ม/ปี
ลักษณะอ่างเก็บน้ำระดับน้ำสูงสุด+265.40 เมตร (sทก.)
ระดับน้ำเก็บกัก+264.50 เมตร (รทก.)ระดับน้ำต่ำสุด+255.00 เมตร (รทก.)ความจุที่ระดับเก็บกัก9.85ล้านลูกบาศก์เมตรผลกระทบผลประโยชน์ด้านทรัพยากรป้าไม้ : สูญเสียพื้นที่ป้าไม้ 684 ไร่ คือ เป็นปริมาตร
ด้านเกษตรกรรม : การพัฒนาโครงการซึ่งมีความจุ 9.85
ไม้ 2,986.22 ลูกบาศก์เมตร มูลค่าไม้สุทธิ 4.94 ล้านบาท
ล้าน ลบ.ม. จะทำให้ความหนาแน่นในการปลูกพืชและการผลิตด้านทรัพยากรสัตว์ป่า : สัตว์ป่าอย่างน้อย 115 ชนิด ได้แก่ สัตว์อื่นๆ ในพื้นที่เกษตรในรอบปี (Cropping Intensity : Cl)สะเทินน้ำสะเทินบก 9 ชนิดสัตว์เลื้อยคลาน 18 ชนิด นก 79 ชนิด และสัตว์ในพื้นที่รับประโยชน์เพิ่มสูงขึ้นจาก 100 % เป็น 138%เลี้ยงลูกด้วยนม 9 ชนิดถูกรบกวนและสูญเสียแหล่งอาศัยและทำมาหากิน
ด้านชดเชยทรัพย์สิ้น : ราษฎร จ๋านวน 287 ราย ได้แก่ บริเวณด้านเศรษฐกิจ สังคม : รายได้ครัวเรือนเฉลียเพิ่มขึ้นจากหัวงานและอ่างเก็บน้ำ พื้นที่ถนนทดแทนพื้นที่หัวงาน (เพิ่มเติม) พื้นที่กันการที่มีน้ำทำการเกษตรและสามารถเพิ่มพื้นพื้นที่เพาะปลูกและเขตอื่นๆ (เพิ่มเติม) และแนวท่อส่งน้ำ ต้องสูญเสียที่ดินทำกัน จำนวนผลิตต่อปีได้มากขึ้น186 ไร่ 1 งาน 32 ตารางวาการดำเนินงานในขั้นถัดไป
จัดประชมปัจฉิมนิเทศโครงการและกิจกรรมสื่อสัญจร เพื่อนำเสนอผลการศึกษาของโครงการส่วนวางโครงการที่ 2 สำนักบริหารโครงการบริษัท ทีม คอนซื้ลดิ้ง เอนจิเนียรั่ง แอนด์ แมแนจเมนท์ จำกัด (มหาชน)GROUP
โทรศัพท์ : 0 2509 9000 ต่อ 2201#126 (งานด้าวิศวกรรม)
กรมชลประทานเลขที่ 811 ถ.สามเสน แขวงถนนนครไชยศรีบริษัท ดีไว พลัส จำกัดโทรศัพท์ : 0 2943 9452 ต่อ 24 (งานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน)
เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300โทรศัพท์ : 0 2241 0255
บริษัท ทีแอลที คอนซัลแตนส์ จำกัดโทรศัพท์ : 0 2509 90000 ต่อ 2316 (งานด้านสิ่งแวดล้อม)ระบบส่งน้ำและแนวถนนทดแทนท่อส่งน้ำสายหลัก-รอง 17.58 กิโลเมตร ถนนทดแทน 11.95 กิโลเมตรถนนทดแทน 20.54 กิโลเมตร
พื้นที่รับประโยชน์/พื้นที่ชลประทานพื้นที่รับประโยชน์
7,600 ไร่พื้นที่ชลประทาน(ฤดูฝน) 5,400 ไร่พื้นที่ชลประทาน(ฤดูแล้ง) 2,400 ไร่


ภาพ/ข่าว วนิดา,ชาญฤทธิ์